โครงการวิจัยที่ได้ดำเนินการในพื้นที่สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช   มาตั้งแต่ ปี   พ.ศ. 2510 

               (ปีก่อตั้งสถานีฯ สะแกราช)  ได้มีนักวิจัยทั้งชาวไทยและต่างประเทศมาใช้พื้นที่สถานีฯ สะแกราช   เพื่อทำการ

               วิจัยแล้วมากกว่า 199 เรื่อง ผลงานวิจัยดังกล่าวได้สร้างองค์ความรู้และประโยชน์ในการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจ

               ของประเทศอย่างมากมายโดยโครงการวิจัยดังกล่าวได้แบ่งออกเป็นสาขาต่างๆ  ดังต่อไปนี้  


เรื่อง
หัวหน้าโครงการ/ผู้ร่วมวิจัย
หน่วยงาน
ปีดำเนินการ(พ.ศ.)
1) ชนิดและผลของเชื้อราเวสสิตูลา อาบัสคูลา
ไมคอไรซา ต่อการเจริญเติบโต
ของกล้าไม้บางชนิด

- พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์ (วช.)
- ณัฐวรางค์ สงวนราชทรัพย์
- อมรา จันทนโอ

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


2519



2) การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียที่มีประสิทธิ
ภาพสูงในการตรึงไนโตรเจนโดยอิสระใน
สภาพมีอากาศ และผลรวมระหว่างเชื้อ
แบคทีเรียกับเชื้อราเวสลิคูลา อาปัสคูลา
ไมคอไรซา ต่อการเจริญเติบโตของกล้าไม้
โตเร็วบางชนิด

- พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์ (วช.)
- ลาวัณย์ ฟุ้งขจร
- อมรา จันทนโอ
- ศุภมาศ พนิชศักดิ์


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์





2519








3) การศึกษาทางนิเวศวิทยาของเชื้อรา
ซึ่งสร้าง Sporocarps ขนาดใหญ่ (*)

- พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


2521-2523


4) ชนิดและความหนาแน่นของ algae (*) - รศ.อักษร ศรีปลั่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2521-2523
5) การศึกษาบักเตรีที่ตรึงแก๊สไนโตรเจนของป่า (*) - ธงชัย คัมภีร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2521-2523
6) บักเตรีที่ทำให้เกิดปมรากของประดู่ในป่า
สะแกราช (*)
- ศุวศา ศิริพันธุ์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2522


7) ประสิทธิภาพการตรึงไนโตรเจนของ
AZOTOBACTOR ในดินป่าสะแกราช

- วิไลลักษณ์ ศัตรูลี้ (T)


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2522

8) บักเตรีที่ทำให้เกิดปมรากของป่าประดู่
ในป่าสะแกราช

- ศุวศา ศิริพันธุ์ (T)

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2522

9) เชื้อไรโซเบียมที่ตรึงแก๊สไนโตรเจน
ร่วมกับพืชตระกูลถั่วบางชนิดในป่าเต็งรัง (*)

- ธงชัย คัมภีร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2522

10) ประสิทธิภาพการตรึงไนโตรเจนของ
Azotobacter ในดินป่าสะแกราช (*)

- วิไลลักษณ์ ศัตรูลี้ (T)

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2522

11) การสำรวจเชื้อราไมคอร์ไรซาที่สัมพันธ์
กับรากต้นไม้ในระบบนิเวศวิทยาป่าเต็งรัง
ท้องที่สะแกราช

- อนิวรรต เฉลิมพงษ์ (วช.)
- ธีรวัฒน์ บุญทวีคุณ

กรมป่าไม้

2524

12) การสำรวจเอ็คโตไมคอร์ไรซ่าในระบบ
นิเวศน์ป่าดิบแล้ง

- อนิวรรต เฉลิมพงษ์ (วช.)
- ธีรวัฒน์ บุญทวีคุณ

กรมป่าไม้

2525

13) การศึกษากิจกรรมของจุลินทรีย์ในดิน
จอมปลวก ณ.ป่าสะแกราช

- จรัญ เจตนะจิตร
- ภูธิพันธ์ ลีละศุลีธรรม
- ธงชัย คัมภีร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2525

14) การกระจายพันธุ์และการสืบพันธุ์ตาม
ธรรมชาติของเห็ดราไมคอร์ไรซากับ
ต้นไม้ในระบบนิเวศวิทยาสิ่งแวดล้อมสะแกราช

- อนิวรรต เฉลิมพงษ์ (วช.)

กรมป่าไม้

2526

15) การกระจายพันธุ์และการสืบพันธุ์ตาม
ธรรมชาติของเห็ดราไมคอร์ไรซากับ
ต้นไม้ในระบบนิเวศวิทยาสิ่งแวดล้อมสะแกราช (*)

- อนิวรรต เฉลิมพงษ์ (วช.)

กรมป่าไม้

2526

16) การศึกษาชนิดและการแพร่กระจายของ
เชื้อราเวสิคูลา อาบัสคูลา ไมคอร์ไรซา
ในดินป่าดิบแล้งและป่าเต็งรัง และ
ผลของเชื้อราเวสิคูลา อาบัสคูลา
ไมคอร์ไรซา ต่อการเจริญของกล้าไม้บางชนิด (*)

- พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2526-2529

17) การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียที่มีประสิทธิ-
ภาพสูงในการตรึงไนโตเจนโดยอิสระใน
สภาพภูมิอากาศและผลร่วมระหว่างเชื้อ
แบคทีเรียกับเชื้อราเวสลิคูลา อามัสคูลา
ไมคอไรซา ต่อการเจริญเติบโตของสมพง
(Tetrameles nudi flora R. Br.)

- ลาวัลย์ ฟุ้งขจร (T)

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2528

18) การคัดเลือกเชื้อราเวสิคูลา อาบัสคูลา
ที่เหมาะสมกับกล้าไม้ป่าที่สำคัญ
ทางเศรษฐกิจบางชนิด (*)

- พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2529-2532

19) การเจริญเติบโตและการอยู่รอดของ
กล้าไม้ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb.) 
ที่มี Ectomycorrhiza อยู่ที่ราก (*)

- อุทัยวรรณ แสงวณิช (วช.)

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2531-2535

20) เอคโตไมคอร์ไรซ่าของไม้ยางนา

- อุทัยวรรณ แสงวนิช (วช.)
- ทนุวงศ์ แสงเทียน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2532

21) การเจริญเติบโตของกล้าไม้ยางนาที่ได้รับ
การปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซา (*)

- อุทัยวรรณ แสงวณิช (วช.)
- ทนุวงศ์ แสงเทียน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2537

22) โครงการอนุรักษ์จุลินทรีย์นอกถิ่นกำเนิด
และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน (*)

- ดร.วัลลภา อรุณไพโรจน์

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
แห่งประเทศไทย (วว.)

2543